วันอาทิตย์ที่ 20 มกราคม พ.ศ. 2556

km คืออะไร

km คืออะไร พิมพ์ อีเมล
เขียนโดย Administrator   
คำว่า " การจัดการความรู้ " (Knowledge Management: KM) ในการตีความของ สคส . นั้นเป็นเครื่องมือหรือกระบวนการเรียนรู้หนึ่ง ซึ่งเมื่อนำ KM ไปใช้แล้วจะบรรลุเป้าหมายอย่างน้อย 4 ประการพร้อมกัน ได้แก่ งาน การพัฒนาคน พัฒนาองค์กรเป็นองค์กรเรียนรู้ และ เกิดเป็นชุมชน เกิดความเป็นหมู่คณะ ดังนั้นการจัดการความรู้จึงไม่ใช่เป้าหมายในตัวของมันเอง
ความรู้แบ่งเป็น 2 ประเภทใหญ่ๆ คือ
      
1. ความรู้ชัดแจ้ง (Explicit Knowledge) เป็นความรู้ที่เห็นได้ชัดเจนเป็นรูปธรรมอยู่ในตำรา เช่น หลักวิชาหรือทฤษฎี ซึ่งได้มาจากการวิเคราะห์ สังเคราะห์ ผ่านการพิสูจน์หรือวิจัยมาแล้ว การจัดการความรู้ชัดแจ้งนั้น จะเน้นไปที่การเข้าถึงแหล่งความรู้ ตรวจสอบและตีความได้ มื่อนำไปใช้แล้วเกิดความรู้ใหม่ก็นำมาสรุปไว้เพื่อใช้อ้างอิงหรือให้ผู้อื่นเข้าถึงได้ต่อไป ( วงซ้าย )
       2. ความรู้ที่ฝังลึกอยู่ในตัวคน (Tacit Knowledge) เป็นความรู้ที่ได้จากการปฏิบัติ เป็น "เคล็ดวิชา" เป็น "ภูมิปัญญา" เป็นสิ่งที่มาจากการใช้วิจารณญาณ ปฏิภาณไหวพริบ เป็นเทคนิคเฉพาะตัวของผู้ปฏิบัติแต่ละท่าน ส่วนการจัดการความรู้ผังลึก เน้นที่การจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ความรู้ที่อยู่ในตัวผู้ปฏิบัติทำให้เกิดการเรียนรู้ร่วมกัน อันนำไปสู่การสร้างความรู้ใหม่ ที่แต่ละคนสามารถนำความรู้นั้นไปใช้ทำงานต่อไปได้ ( ดูวงขวา ) 
km คืออะไร พิมพ์ อีเมล
เขียนโดย Administrator   
คำว่า " การจัดการความรู้ " (Knowledge Management: KM) ในการตีความของ สคส . นั้นเป็นเครื่องมือหรือกระบวนการเรียนรู้หนึ่ง ซึ่งเมื่อนำ KM ไปใช้แล้วจะบรรลุเป้าหมายอย่างน้อย 4 ประการพร้อมกัน ได้แก่ งาน การพัฒนาคน พัฒนาองค์กรเป็นองค์กรเรียนรู้ และ เกิดเป็นชุมชน เกิดความเป็นหมู่คณะ ดังนั้นการจัดการความรู้จึงไม่ใช่เป้าหมายในตัวของมันเอง
ความรู้แบ่งเป็น 2 ประเภทใหญ่ๆ คือ
      
1. ความรู้ชัดแจ้ง (Explicit Knowledge) เป็นความรู้ที่เห็นได้ชัดเจนเป็นรูปธรรมอยู่ในตำรา เช่น หลักวิชาหรือทฤษฎี ซึ่งได้มาจากการวิเคราะห์ สังเคราะห์ ผ่านการพิสูจน์หรือวิจัยมาแล้ว การจัดการความรู้ชัดแจ้งนั้น จะเน้นไปที่การเข้าถึงแหล่งความรู้ ตรวจสอบและตีความได้ มื่อนำไปใช้แล้วเกิดความรู้ใหม่ก็นำมาสรุปไว้เพื่อใช้อ้างอิงหรือให้ผู้อื่นเข้าถึงได้ต่อไป ( วงซ้าย )
       2. ความรู้ที่ฝังลึกอยู่ในตัวคน (Tacit Knowledge) เป็นความรู้ที่ได้จากการปฏิบัติ เป็น "เคล็ดวิชา" เป็น "ภูมิปัญญา" เป็นสิ่งที่มาจากการใช้วิจารณญาณ ปฏิภาณไหวพริบ เป็นเทคนิคเฉพาะตัวของผู้ปฏิบัติแต่ละท่าน ส่วนการจัดการความรู้ผังลึก เน้นที่การจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ความรู้ที่อยู่ในตัวผู้ปฏิบัติทำให้เกิดการเรียนรู้ร่วมกัน อันนำไปสู่การสร้างความรู้ใหม่ ที่แต่ละคนสามารถนำความรู้นั้นไปใช้ทำงานต่อไปได้ ( ดูวงขวา ) 
km คืออะไร

คำว่า " การจัดการความรู้ " (Knowledge Management: KM) ในการตีความของ สคส . นั้นเป็นเครื่องมือหรือกระบวนการเรียนรู้หนึ่ง ซึ่งเมื่อนำ KM ไปใช้แล้วจะบรรลุเป้าหมายอย่างน้อย 4 ประการพร้อมกัน ได้แก่ งาน การพัฒนาคน พัฒนาองค์กรเป็นองค์กรเรียนรู้ และ เกิดเป็นชุมชน เกิดความเป็นหมู่คณะ ดังนั้นการจัดการความรู้จึงไม่ใช่เป้าหมายในตัวของมันเอง

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น